บทที่ 1. พื้นที่ผิวและปริมาตร
1.1 รูปเรขาคณิตสามมิติ
บทนิยาม
ปริซึม คือ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองอยู่คนละระนาบที่ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
การเรียกชื่อปริซึม จะเรียกตามฐานของปริซึม เช่น ฐานเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เรียกว่า ปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานเป็นห้าเหลี่ยม เรียกว่า ปริซึมห้าเหลี่ยม เป็นต้น

ทรงกระบอก คือ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการ และอยู่บนระนาบที่ขนานกัน และเมื่อตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้ว จะได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกับฐานเสมอ

พีระมิด คือ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ แต่มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น

กรวย คือ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นวงกลมแต่มียอดแหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดและจุดใดๆ บนขอบของฐานเป็นส่วนของเส้นตรง

ทรงกลม คือ รูปเรขาคณิตที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้งอยู่ห่างจากจุดคงที่จุดหนึ่งเป็นระยะที่เท่ากัน จุดคงที่จุดนั้นเรียกว่า จุดศูนย์กลางของทรงกลม ระยะที่เท่ากันนั้นเรียกว่า รัศมีของทรงกลม

การเรียกส่วนประกอบของรูปทรงสามมิติ
ปริซึม

ทรงกระบอก

พีระมิด

กรวย

ทรงกลม

1.2 ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
ทบทวน
1. สูตรพื้นที่รูปสามเหลี่ยม รูปห้าเหลี่ยม และรูปหกเหลี่ยม
– พื้นที่รูปสามเหลี่ยมใด ๆ
ฐาน
สูง


– พื้นที่รูปสามเหลี่ยมใด ๆ 

2. สูตรพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม
3. สูตรพื้นที่วงกลมและวงรี

1.3 ปริมาตรของพีระมิดและกรวย
ปริมาตรของพีระมิด


ปริมาตรของกรวย


เมื่อ h = ส่วนสูง , r = รัศมีฐาน
1.4 ปริมาตรของทรงกลม
ปริมาตรของทรงกลม

เมื่อ r = รัศมีของทรงกลม
1.5 พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
พื้นที่ผิวของปริซึม

พื้นที่ผิวของทรงกระบอก

เมื่อ h = ส่วนสูง , r = รัศมีฐาน
1.6 พื้นที่ผิวของพีระมิด กรวยและทรงกลม
พื้นที่ผิวของกรวย

พื้นที่ผิวของกรวย

โดยที่ l = ความสูงเอียง และ r = รัศมี
พื้นที่ผิวของทรงกลม

โดยที่ r = รัศมี
ที่มา:สูตร ม.3
ที่มา:สูตร ม.3